วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2553

แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ ทฤษฎีการเรียนรู้

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
ทฤษฎีการเรียนรู้

http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีการเรียนรู้
http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86
http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=110814&Ntype=2
http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning.htm
http://www.kroobannok.com/1549
http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm
http://puvadon.multiply.com/journal/item/5
http://socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=15154
http://www.tciap.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538781189
http://www.inspect11.moe.go.th/index.php/component/content/article/54-2009-11-28-01-55-54/128-2010-02-23-07-40-15
http://pirun.ku.ac.th/~g4886063/learningT.htm
http://www.tumcivil.com/engfanatic/board/gen.php?topic_id=13741&hit=1

แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ

http://kawshevit.blogspot.com/2008/01/blog-post_14.html
http://www.prachatai.com/column-archives/node/2693
http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/others/wilaiporn/__58.html
http://www.nidtep.go.th/quality/index.php?name=news
http://library.cmu.ac.th/ntic/http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=3638.0
http://www.prapayneethai.com/th/amusement/north/
http://www.prapayneethai.com/th/tradition/north/
http://www.thaigoodview.com/node/48381
http://www.tourthai.com/directory/?c=99
http://www.openbase.in.th/taxonomy/term/1188?page=
http://iam.hunsa.com/laongdao/article/26236
http://thrai.sci.ku.ac.th/node/1898
http://www.sri.cmu.ac.th/~maeyinglanna/main10/main.php

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับชุดการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

http://www.vcharkarn.com/vcafe/163559

http://www.surinarea1.go.th/isresearch/science_group.html
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:5OPNMLWPJNgJ:www.scribd.com/doc/29270145
http://www.krooit.com/webboard/index.php?topic=1253.0

แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

http://www.bcoms.net/news/index.asp
http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00009
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/nittaya_c/meaow2/page04_2.htm
http://www.siit.tu.ac.th/thai/it.html
http://www.thaismeplus.com
http://www.ez-admin.com/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=60&Itemid=455
http://www.itexcite.com/
http://www.thaiitstory.com/
http://www.ict.mbu.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=41
http://www.nectec.or.th/

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนเครือข่าย Internet เรื่อง โคมลอย




แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ เกี่ยวกับ เด็กปฐมวัย เช่น เพลง เกม นิทาน สาระน่ารู้

 

http://www.childthai.org/childrensroom/index.htm
http;//www childthai.org/
http://www.curistory.com/us/card/music.asp?code=m
http://www.dofordek.com/script/fangnitan/fangnitan.php
http://www.enchantedlearning.com/Rhymes.html

แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง พืชผักสมุนไพร

1.http://www.samunpri.com/modules.php?name=Vegetable
2.http://www.samunpri.com/modules.php?name=News&file=article&sid=55
3.http://www.doae.go.th/library/html/detail/menuveg.htm
4.http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/veg_herb.html
5. http://www.homedd.com/HomeddWeb/servlet/homedd.A_garden.frontweb.FwVegetMain
6. http://www.wiparatfood.com/
7.http://www.tungsong.com/samunpai/Garden/index.html
8.http://www.ezythaicooking.com/ingredients_1_th.html
9. http://www.chs.ac.th/new/weerawan/plant.html
10. http://www.jabchai.com/main/view_joke.php?id=2165

แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับเรื่อง สื่อและวิธีการสอนภาษาไทย

http://www.kbyala.ac.th/web-thai/media-tep.htm
http://www.school.net.th/library/createweb/10000/language/10000-11919.html
www.sahavicha.com/
www.sema.go.th/view/latest/thai
www.sema.go.th/view/thai
http://www.kroobannok.com/34626
http://www.vcharkarn.com/vteacher/4
http://www.dekgeng.com/thai/korkai.html
http://30wutani3.multiply.com/journal/item/4

แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ตที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย

http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/history/hist1.htm
http://www.bandhit.com/History/History.html
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=polball&month=18-12-2009&group=17&gblog=12
http://www.baanjomyut.com/library/thai_history.html
http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no17/main/pravattisad.html
http://www.kwc.ac.th/1Part1.htm
http://www.photikhun.org/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=6&Id=539118421
http://www.m-culture.go.th/detail_page.php?sub_id=522
http://www.kroobannok.com/1698
http://www.iseehistory.com/thai
http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/kung-ten-buri

เว็บที่เกี่ยวกับสุขภาพกายและสุขภาพจิต

http://www.clinicrak.com/
http://www.thaioptometry.net/
http://www.thainhf.org/index.php
http://www.doctordek.com/index.php
http://www.siamhealth.net/
http://www.thaiclinic.com/
http://elib.fda.moph.go.th/library/
http://dopah.anamai.moph.go.th/
http://www.thaicraniofacial.com/
http://www.orthochula.com/
http://www.siamhealthy.net/
http://www.yourhealthyguide.com/
http://www.siamgreenfarm.com/

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ (e – Book)

http://www.thaigoodview.com/node/186

http://www.lms.cmru.ac.th/how_to_read.htm

http://www.horhook.com/wbi/dta/index.html

http://www.oknation.net/blog/freeday888/2009/09/08/entry-1

http://bu.lpc.rmutl.ac.th/naravit/e-book/

http://learn.wattano.ac.th/learn/ln2/courses/5/E-book.htm

http://www.horhook.com/content/index.htm

http://61.91.205.171/flip_e_book/flip_publisher1.htm

http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/frontend/theme_1/index.php

กีฬา...คือยาวิเศษ เว็ปลิงค์เกี่ยวกับกีฬา

http://www.fat.or.th/web/national.php
http://www.kat.or.th/public/aboutus.html
http://www.thaicycling.or.th/?cid=348259
http://www.takraw.or.th/th/
http://www.thaitva.or.th/html/association/
1association.html
http://www.aat.or.th/
http://www.taekwondothai.com/history.php
http://www.tasa.in.th/pro/history.php

สถาบันกวดวิชานักเรียน

1.http://www.tutor-2bee.com/
2.http://www.dek-d.com/
3.http://www.peetewnong.com/home/
4.http://www.iqpluscenter.com/
5.http://www.sonnong.com/
6.http://www.chulatutorathome.com/
7.http://www.koe-physics.com/
8.http://www.thetutor.in.th/portal/home/
9. http://www.thebrain.co.th/
10. http://www.appliedphysics.ac.th/
11. http://www.chem-ou.com/
12. http://www.davance.com/

แหล่งเรียนรู้ ภาพการ์ตูน

1. http://dookdik.kapook.com/
2. http://atcloud.com/stories/40617
3. http://sakid.com/2007/10/12/7084/
4. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kungguenter& month=21-05-2009&group=32&gblog=12
5. http://atcloud.com/discussions/45779
6. http://www.coverdd.com/animation/
7. http://www.jengsud.com/emo/
8. http://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=851.0
9. http://flash-mini.com/hi5code/emotion_hi5msn.php
10. http://ecard.kapook.com/category.php?category_id=47

แหล่งเรียนรู้ สื่อวิทยาศาสตร์

http://www.stkc.go.th/cd_download/
http://www.edu.cmu.ac.th/~science/InstrMedia.html
http://www.youtube.com/view_play_list?p=575B58727CBC7CD6
http://www.kruaung.com/index.php
http://www.goosiam.com/games/viewallgame.asp
http://gotoknow.org/blog/wilaiaun/
http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/index.htm
http://teacherkobwit2010.wordpress.com/
http://kunkrupreeda.exteen.com/
http://learners.in.th/blog/tasana/260088

แหล่งข้อมูลความรู้ออนไลน์ เกี่ยวกับกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ และ ดาราศาสตร์

http://www.darasart.com/

http://thaiastro.nectec.or.th/
http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/astronomy.shtml
http://www.doodaw.com/
http://www.rmutphysics.com/charud/astronomy/index.htm
http://sunflowercosmos.org/astronomy/astronomy_main/astronomy_main.html
http://www.lesa.in.th/
http://www.kruku.net/archives/category
http://www.space.mict.go.th/astronomer.php
http://etcommission.go.th/Space/astronomer.php?name=copernicus
http://student.sut.ac.th/astronomyclub/
http://www.airandspaceclub.com/forum/index.php?action=printpage;topic=624.0
http://www.absorn.ac.th/webmul.htm
http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/darasart.html
http://guru.google.co.th/guru/label?lid=63f4c5fcc2f05533
http://www.science.cmu.ac.th/observatory/obv_bkup/Olympic.htm

แหล่งข้อมูลความรู้อิเล็กทรอนิกส์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ

http://www.prachatai.com/column-archives/node/2693
http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/others/wilaiporn/__58.html
http://www.nidtep.go.th/quality/index.php?name=news
http://library.cmu.ac.th/ntic/lannafood/
 http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=3638.0
http://www.prapayneethai.com/th/amusement/north/
http://www.prapayneethai.com/th/tradition/north/
http://www.thaigoodview.com/node/48381
http://www.tourthai.com/directory/?c=99
http://www.openbase.in.th/taxonomy/term/1188?page=47
http://iam.hunsa.com/laongdao/article/26236
http://thrai.sci.ku.ac.th/node/1898
http://www.sri.cmu.ac.th/~maeyinglanna/main10/main.php

แหล่งเรียนรู้ออนไลน์คณิตศาสตร์

http://www.kanid.com/
http://www.ipst.ac.th/smath/web_math/web_math1.Html
http://www.thai-mathpaper.net/
http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&category=4
http://www.math.pinionteam.net/
http://www.math.or.th/
http://www.ripn-math.com/
http://www3.ipst.ac.th/primary_math/ict_material/mini_lo.asp
http://www.mc41.com/

แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์จาก WWW. ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ เรื่องการวัดผลและประเมินผล

http://www.kruwut.net/unit3.pdf

www.watpon.com/Elearning/mea1.htm

http://reg.ksu.ac.th/teacher/yahvaret/lession1.html

http://socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=91157

http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww521/joemsiit/joemsiit-web1/Bloom_/Bloom3.htm

http://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/9999softmeas/unit6/index.html

http://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/UNIT1/unit1/unit14.html

http://www.watpon.com/testtheory/

http://reg.ksu.ac.th/teacher/yahvaret/lession2.html

http://www.sahavicha.com/?name=blog&file=readblog&id=3141

http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538682703&Ntype=3

แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เรื่องสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ



http://www.karn.tv/tale.html
http://student.sut.ac.th/anurukclub/show_question.php?qs_qno=933
http://www.thaigoodview.com/node/41746
http://www.zone-it.com/forum/index.php?action=login
http://www.thaigoodview.com/node/532
http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/view.php?id=512889
http://www.chulaonline.com/
http://newpoon.wordpress.com/
http://www.vmodtech.com/webboard/index.php?topic=11411.msg133415;topicseen
http://www.eldc.go.th/eldc3/page/webboard/view_topic.jsp?topic_id=572

นิทานคุณธรรมหรือนิทานธรรม

นิทานคุณธรรมหรือนิทานธรรม มีทั้งรูปแบบวิดีโอ ออดิโอซีดี และหนังสือ หลากหลาย เพื่อความเพลิดเพลิน เจริญสติปัญญา และใช้เป็นสื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมสำหรับเด็กๆ


http://www.kalyanamitra.org
http://www.dhammathai.org/dhammastory/index.php
  http://audio.palungjit.com/f23/
http://www.fungdham.com/fable-local.html
http://www.mindcyber.com/content/?action=cat&catid=6
http://www.buddhadasa.com/index_tale.html
 http://entertain.tidtam.com/data/12/0207-1.html 
http://www.whitemedia.org/wma/content/category/3/3/15/ 
http://www.phrasomrak.com/index.php?option=com_content&view=article&id
http://www.tamdee.net/main/thread.php?fid-20.html
http://www.dhammathai.org/chadoknt/chadoknt.php

สื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนเครือข่าย  Internet
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เรื่อง    สื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
 Link
รายละเอียด

สื่อการสอนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การคูณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสลับที่ของการคูณ  บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คณิตศาสตร์ เรื่องการคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลักกับจำนวนที่มีสองหลัก

สื่อการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 1

วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง เงิน

สื่อการสอนคณิตศาสตร์  เรื่อง  การบวกทศนิยม การลบทศนิยม


ศูนย์พัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์  โครงการวิจัยเรื่อง  การพัฒนาทักษะการคิดและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6



ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน  ตัวอย่างแบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบวัดความรู้วิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

เว็บไซต์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม)


เอกสารประกอบการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3


สื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ แบบทดสอบออนไลน์  ระดับมัธยมศึกษาปีที่  2

บทความเกี่ยวกับการสร้างสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์

วันศุกร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2553

มูเดิ้ล คืออะไร (What is Moodle?)

                    มูเดิ้ล (Moodle = Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment)  
คือ โปรแกรมที่ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการ
ระบบอีเลินนิ่ง ทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถเปิดบริการแก่ครู และนักเรียน ผ่านบริการ 2 ระบบ 
คือ 1)ระบบซีเอ็มเอส หรือระบบจัดการเนื้อหา (CMS = Course Management System)  
บริการให้ครูสามารถจัดการเนื้อหา เตรียมเอกสาร สื่อมัลติมีเดีย แบบฝึกหัดตามแผนการจัดการ
เรียนรู้
 
2)ระบบแอลเอ็มเอส หรือระบบจัดการเรียนรู้ (LMS = Learning Management System)  
บริการให้นักเรียนเข้าเรียนรู้ตามลำดับ ตามช่วงเวลา ตามเงื่อนไขที่ครูได้จัดเตรียมอย่างเป็นระบบ 
และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน พร้อมแสดงผลการตัดเกรดอัตโนมัติ   ปัจจุบันมีโปรแกรม
ที่ทำหน้าที่เป็นเพียงระบบซีเอ็มเอส(ไม่มีระบบ แอลเอ็มเอสในตัว) สามารถสร้างวัตถุเรียนรู้จาก
นอกมูเดิ้ล แล้วนำเข้าไปใช้งานในมูเดิ้ล เช่น สกอร์ม (SCORM = Sharable Content Object 
Reference Model) ที่สามารถนำไปติดตั้งเป็นส่วนหนึ่งในมูเดิ้ล หรือโปรแกรมเลินสแควร์ 
(Learnsquare) ได้
                   ผู้พัฒนามูเดิ้ล คือ Martin Dougiamas โปรแกรมมีลักษณะเป็นโอเพนท์ซอร์ท 
(Open Source) ภายใต้ข้อตกลงของจีพีแอล (General Public License) สามารถดาวน์โหลด
ไปใช้งานได้ฟรีจาก moodle.org โดยผู้ดูแลระบบ (Admin) นำไปติดตั้งในเครื่องบริการ
(Server) ที่บริการเว็บเซอร์ฟเวอร์ (Web Server) รองรับภาษาพีเอชพี (PHP Language) 
และมายเอสคิวแอล(MySQL)
ความหมายของอีเลินนิ่ง หรือ อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) ถูกตีความต่างกันไปตาม
ประสบการณ์ของแต่ละคน แต่มีส่วนที่เหมือนกัน คือ ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ
ในการเรียนรู้ โดยมีการพัฒนา และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีตลอดเวลา
1   อีเลิร์นนิ่ง คือ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
2   อีเลิร์นนิ่ง คือ การใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตเข้ามาส่งเสริมการเรียน
การสอน ให้เกิดประสิทธิผล คำที่มีความหมายใกล้เคียงกับอีเลิร์นนิ่ง เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(CAI = Computer Assisted Instruction) หรือ การสอนโดยใช้เว็บเป็นฐาน
(WBI = Web-based Instruction) หรือ การเรียนรู้โดยใช้เว็บเป็นฐาน (Web-based Learning)
                 เลิร์นนิ่งออฟเจ็ค (Learning Object) คือ แฟ้มดิจิทอลเพื่อใช้นำเสนอให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้ จนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของสื่อ มักอยู่ในรูปของสื่อผสมที่มีการออกแบบอย่างเป็น
ระบบ

ความสามารถของมูเดิ้ล
       1. เป็น Open Source ที่ได้รับการยอมรับ (13,544 sites from 158 countries 2549-07-19)
ตัวนี้ฟรี : ปัจจุบันสถาบันการศึกษาในไทย ยังไม่มีข้อตกลงเป็นเอกฉันท์ว่าจะใช้อีเลินนิ่งตัวใด 
        แต่มีแนวโน้มเปลี่ยนไปใช้มูเดิ้ลเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ
       2. รองรับทั้ง ซีเอ็มเอส(CMS = Course Management System) และ แอลเอ็มเอส 
          (LMS = Learning Management System)   ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหาของ
   ครู
พร้อมบริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา บันทึกกิจกรรมของนักเรียน และตัดเกรด
        3.  เป็นแหล่งเผยแพร่เอกสารออนไลน์ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ
          Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารที่เคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไปเผยแพร่ได้โดยง่าย
       4 .  มี ระบบติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และครู เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น
นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งการบ้านไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม 
         หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อนเข้าเรียน ก็ได้  
       5.   มี ระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบให้คะแนนที่หลากหลาย
ให้ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel ได้ 

      6. สำรองข้อมูลเป็น .zip แฟ้มเดียวได้ ทำให้ครูหรือนักเรียนนำไปกู้คืนในเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่ใดก็ได้ อย่างของผมทำวิชาระบบปฏิบัติการ แล้วเก็บเป็น .zip เปิดให้ Download ใครจะ
นำไปทดสอบกู้คืนในเครื่องตนเองก็ได้   ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ และใจกว้าง ส่งเสริมเรื่องนี้เพราะ 
 ครูได้ทำหน้าที่ นักเรียนได้เรียนรู้   และสถาบันยกระดับการให้บริการ ครูเตรียมสอนเพียง
 ครั้งเดียว แต่นักเรียนเข้ามาเรียนกี่รอบก็ได้จบไปเข้าแล้วกลับมาทบทวนก็ได้

วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553

มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” หรือ CAI คือ การนำคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องมือสร้างให้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ ผู้เรียนนำไปเรียนด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู้ ในโปรแกรมประกอบไปด้วย เนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ลักษณะของการนำเสนอ อาจมีทั้งตัวหนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการแสดงผลการเรียนให้ทราบทันทีด้วยข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียน และยังมีการจัดลำดับวิธีการสอนหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละคน ทั้งนี้จะต้องมีการวางแผนการในการผลิตอย่างเป็นระบบในการนำเสนอเนื้อหาในรูป แบบที่แตกต่างกัน

องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
- ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ
- ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน
- ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป
ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1. สอนเนื้อหารายละเอียด (Tutorials)
2. การฝึกทักษะ (Drill and Practice)
3. การจำลองสถานการณ์ (Simulations)
4. เกมการสอน (Instructional games)
5. การสาธิต (Demonstration) โปรแกรมการสาธิต มีจุดประสงค์ เพื่อสาธิตประกอบการสอน
6. การแก้ปัญหา (Problem - Solving)เป็นบทเรียนสำหรับใช้เรียนรู้และการคิดแก้ปัญหาการตัดสินใจ
7. การทดสอบ (Tests) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการทดสอบ มี บทบาทในการเป็นเครื่องมือประเมินผลการเรียนของนักเรียนทั้งก่อนเริ่มเรียน ระหว่างเรียนและหลังการเรียน
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)ระบบผู้เชี่ยวชาญ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีความ สามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
1. ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อน สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะ และเพิ่มเติมความรู้ เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน
2. ผู้เรียนสามารถนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการเรียนด้วยตนเองในเวลา และสถานที่ที่สะดวก
3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะจูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น สนุกสนานไปกับการเรียน

ข้อดีของระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน
1.ทำให้ผู้เรียนเรียนได้ในอัตราความเร็วของตนเอง เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นสื่อการเรียนการสอนของการเรียนเป็นรายบุคคล ที่ดีสามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนตามความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะเรียน ตามอัตราความเร็วของแต่ละคน โดยที่ผู้เรียนไม่ต้องรอหรือเร่งการตอบสนอง( respond ) และไม่ต้องรอข้อมูลย้อนกลับ (feed back) จากครู เพราะคอมพิวเตอร์สามารถให้ข้อมูลกลับแก่ผู้เรียนทุกคนในเวลาเดียวกันโดยใช้ ระบบการเจียดเวลา (Time Sharing)
2.ผู้เรียนจะเรียนที่ไหนเมื่อใดก็ได้ ด้วยความก้าวหน้าของระบบการสื่อสารทำให้ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อ ถ่ายทอดความรู้กับผู้อื่น หรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากโปรแกรมที่กำหนดไว้ได้ทุกเวลาที่ต้องการจะ เรียนในทุก ๆ แห่ง
3.ผู้เรียนสามารถเรียนได้จากสื่อประสม (Multi media) จากระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากระบบไมโครคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนในปัจจุบันได้รับการพัฒนา จนสามารถที่จะแสดงภาพลายเส้นที่เคลื่อนไหวและการเสนอบทเรียนเป็นภาษาไทย การต่อวงจรระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมสื่ออื่นให้เสนอบทเรียนในเวลาที่เหมาะสมกับ การตอบสนองของผู้เรียน จะทำให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดีขึ้นมาก
4.ผู้เรียนสามารถทราบผลการเรียนของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมรวดเร็วกว่าสื่อ อื่น ๆ เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่น คือการเก็บข้อมูลซ่อนคำตอบของกิจกรรมไว้ในหน่วยความจำหรือแผ่นดิสก์ได้ครั้ง ละมาก ๆ เมื่อผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมแต่ละกิจกรรมแล้วระบบคอมพิวเตอร์สามารถบอกคำ ตอบหรือผลเฉลี่ยของกิจกรรมที่ถูกต้องได้ทันที

ข้อจำกัดของระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน
1.ขาดบทเรียนสำเร็จรูปที่ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน ถึงแม้ว่าจะมีการพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ เกี่ยวกับการสอนวิชาต่าง ๆ แต่วิชาเหล่านี้ไม่ได้จัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักสูตรของประเทศไทย ทำให้ไม่สามารถนำมาใช้ได้โดยตรงจำเป็นต้องมีการนำมาพัฒนาหรือปรับปรุงให้ เหมาะสมกับหลักสูตรของประเทศไทย และเป็นภาษาไทยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจบทเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ขาดบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับระบบการเรียนการสอน แต่ละท้องถิ่นของประเทศไทย ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านสังคมเศรษฐกิจ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ผู้มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์อย่างดีขาดความรู้ด้านการจัดระบบการศึกษา และฝึกอบรมบุคลากรในสาขาวิชาชีพอื่น ๆ และผู้ที่มีความรู้ในด้านการจัดระบบการศึกษา

ข้อพึงระวังของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
* ผู้สอนจะต้องมีความพร้อม ความชำนาญในการสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
* ผู้สอนควรมีการวางแผน และเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนให้รอบคอบ ก่อนนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้อย่างเหมาะสม
* การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้มาตรฐานเป็นสิ่งสำคัญมาก หากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไม่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม จะทำให้ผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่ายและไม่ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น ๆ
* ผู้ที่สนใจสร้างคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรที่คำนึงเวลาในการผลิตว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้มาตรฐานนั้นต้องใช้เวลาเท่าไร
ดังนั้น หากนำ CAI ที่ได้รับการคัดเลือกตามคุณสมบัติที่ดีของสื่อนั้น มาประกอบกับการจัดเตรียมห้องเรียน หรือศูนย์ค้นคว้าที่ถูกออกแบบให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่มอยู่ก็สามารถก่อ ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพในอันที่จะพัฒนาตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ให้ บรรลุได้ในเวลาอันรวดเร็วยิ่งขึ้นไป

เครือข่ายสังคม social network


เครือข่ายสังคม
social network
                การศึกษาเครื่องมือ Social Network เช่น facebook, Hi5, twitter, multiply ฯลฯ วิธีการ แนวทาง ในการนำเครื่องมือเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้
1.       ความรู้เกี่ยวกับเครือข่ายสังคม
2.       ตัวอย่างรูปแบบการใช้เครือข่ายสังคมในการจัดการเรียนรู้

1.  ความรู้เกี่ยวกับเครือข่ายสังคม
Social Network คือ สังคมออนไลน์ที่จะช่วยให้คุณหาเพื่อนบนโลกอินเตอร์เน็ทได้ง่ายๆ เราสามารถที่จะสร้างพื้นที่ส่วนตัวขึ้นมา เพื่อแนะนำตัวเองได้ เช่น  Hi5  Friendster  MySpace    FaceBook  Twitter  BeboTagged  เว็บ SNS (Social Network Site) เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อการตอบสนองความต้องการในการ ติดต่อธุรกิจหรือหาเพื่อนบนโลกไซเบอร์ทั้งสิ้น
Hi5
hi5 หรือที่วัยรุ่นไทยอ่านว่า ไฮไฟว์ เป็นเว็บไซต์แบบที่เรียกว่าSocial Network ซึ่งhi5 เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด แห่งหนึ่งของโลก ซึ่งก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี 2002 โดยคุณ Ramu Yalamanchi ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง CEO ของ hi5 นั่นเอง Hi5 เป็นระบบอินเตอร์เน็ตออนไลน์ที่มีการเชิญเพื่อนจากรายชื่อเพื่อนในอีเมลล์ ต่างๆสมัครเข้ามาเป็นเพื่อนของเรา โดยระบบจะทำการแอดเมล์เพื่อนให้ รูปแบบทั่วไปภายใน Hi5 จะมีทั้งการโชว์รูปภาพ เพื่อฟรีเซ็นต์ตัวเอง เราได้แสดงความเป็นตัวตนของเราอย่างภาคภูมิใจ ด้วยการสร้างและตกแต่ง Hi5 ของเราด้วย ของแต่ง Hi5 ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ , Skin ,Wallpaper , ดุ๊กดิ๊ก , Cursor , ภาพเคลื่อนไหว และของแต่ง Hi5 อื่นๆ อีกมากมายมีพื้นที่ให้เขียนเรื่องราวส่วนตัวด้วย
Friendster
Friendster ได้ก้าวขึ้นมาสู่หัวแถวของ Social Network ในประมาณเดือนเมษายน ปี 2004 ก่อนจะถูกไล่แซงโดย My Space ในเรื่องของผู้เข้าชมและจากการจัดอันดับของ Nielsen//NetRatings Frienster ได้รับการยอมรับว่าเป็นคู่แข่งของทั้ง Windows Live Spaces, Yahoo! 360, และ Facebook ในเวลาต่อมาก็ยังมี Hi5 ก้าวเข้ามาเป็นคู่แข่งสำคัญอีกด้วย

My Space
 My Space คือ เว็บบล็อก ที่ทาง msn ให้ผู้ที่ใช้ msn ได้เข้าไปใช้บริการกัน ก็มีคำถามต่ออีกว่า เจ้า web blog คืออะไร สำหรับ เจ้า Web Blog ผมอยากให้เรานึกง่ายๆ ว่ามัน คล้าย Dairy แต่ไม่ใช่นะครับ ย้ำ ว่า บล็อก ไม่ใช่ Dairy โดยบล็อกจะมีความหลากหลายมากกว่า เพราะในบล็อก ผู้ที่เป็นเจ้าของเนื้อที่นั้น จะเป็นผู้ที่ดูแลเนื้อหา ว่า จะให้เป็นแนวไหน หรือว่าจะเป็นเนื้อเรื่องอะไร ส่วนหลายคนเอามาเป็น Dairy นั้น ผิดไหม คงไม่ผิด คือมันแล้วแต่ว่า ผู้ดูแลจะเป็นอย่างไร
Face Book
facebook เป็นซอฟต์แวร์เครือข่ายลักษณะเดียวกับ myspace ที่อนุญาตให้ผู้ใช้สร้างหน้าเว็บของตัวเอง และใส่ข้อมูลต่างๆ ตามต้องการ (profile page) โดยระบบสามารถค้นหาผู้ใช้ที่มีความสนใจตรงกัน เช่นชอบฟังดนตรีประเภทเดียวกัน มีหนังในดวงใจเรื่องเดียวกัน ผู้ใช้สามารถเพิ่มหรือลบลิงก์ไปสู่ผู้ใช้คนอื่น เพิ่มเป็นเครือข่ายทางสังคมอินเตอร์เน็ตในหน้าเว็บของ facebook มีส่วนประกอบหลักคือส่วนของข้อมูลผู้ใช้ ส่วนแสดงจำนวนเพื่อนในเครือข่าย กิจกรรมที่สนใจ และพื้นที่สาธารณะ (ที่เรียกว่า wall) ซึ่งผู้เข้าเยี่ยมชมสามารถเขียนข้อความไว้ได้ ข้อความบน wall นี้ผู้ใช้สามารถกำหนดให้เพื่อนในเครือข่ายเห็นหรือเปิดให้ทุกคนเห็นก็ได้ นอกจากนี้ facebook อนุญาตให้ผู้ใช้งานอัพโหลดรูป และให้ผู้ใช้ตั้งกลุ่มทางสังคม หรือแฟนคลับต่างๆ ได้ด้วยระบบของ facebook บวกกับกลุ่มเป้าหมาย จุดประเด็นทางสังคมมาก
Bebo Bebo
เป็น เครือข่ายทางสังคมแห่งยุคอนาคตที่ทำให้นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาและ มหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับเพื่อน หาเพื่อนที่ขาดการติดต่อกันไปนาน และพบปะกับผู้คนใหม่ๆ หลังจากเปิดตัวอย่างเป็นทางการในเดือนก.ค.ปีที่แล้ว ในเวลาแค่ 7 เดือน เครือข่ายทางสังคมแห่งนี้ก็มีสมาชิกจดทะเบียนมากกว่า 22 ล้านรายที่เข้ามาดูหน้าเว็บเพจถึงกว่า 700 ครั้งต่อ Bebo เป็น Social Network ที่ถูกออกแบบมาดี โทนสีของเว็บไซต์ดูแล้วสบายตา ใช้งานง่าย มีการจัดระบบติดต่อผู้ใช้ได้ดี คนที่ไม่มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้แบบไม่ติดขัด รูปร่างหน้าตาของบล็อกดูไม่รกหูรกตา รองรับการปรับแต่งได้หลากหลาย
                Twitter
ทวิตเตอร์ คือเว็บไซต์ที่ให้บริการ blog สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า Micro-Blog ซึ่งสามารถให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อน ๆ ที่ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตามเค้าอยู่ได้ ซึ่ง twitter ก็ถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท social Media ด้วยเช่นกัน ในรูปแบบของ twitter นี้ ที่เรียกว่าเป็น blog สั้นก็เพราะว่า twitter ให้เขียนข้อความได้ครั้งละไม่เกิน 140 ตัวอักษร ซึ่งข้อความนี้เมื่อเขียนแล้วจะไปแสดงอยู่ในหน้า profile ของผู้เขียนนั่นเอง และจะทำการส่งข้อความนี้ไปยังสมาชิกที่ติดตามผู้เขียนคนนั้นอยู่ (follower) โดยอัตโนมัติ
m-Learning
การเรียนรู้แบบเคลื่อนที่ (mobile learning) เป็นการจัดการเรียนการสอน หรือการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านคอร์สแวร์ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียน การสอนผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา โดยผ่านสัญญาณแบบไร้สายที่มีบริการตามจุดต่างๆของมหาวิทยาลัยและภายนอก มหาวิทยาลัย (Access Point) ผู้เรียนและผู้สอนใช้อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ได้ที่มีความสามารถในการเชื่อม ต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (Wireless Lan) ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer, PDA/PAD Phone, Tablet PC, Cell Phones /Cellular Phone ในการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเข้าถึงข้อมูลเพื่อการเรียน รู้ด้วยผู้เรียนเอง
ส่วนประกอบข่ายงานของ m-Learning ประกอบด้วย
1. ข้อมูลคำอธิบายต่าง ๆ เกี่ยวกับบทเรียน (context data) ได้แก่ คำอธิบายบทเรียน คู่มือการใช้งาน การช่วยเหลือ และข้อมูลที่จำเป็นอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้
2. เครื่องมือสนับสนุนที่ชาญฉลาด (intelligent support engine) ได้แก่ เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย รวมถึงซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารและจัดการบทเรียน (mLMS) เริ่มตั้งแต่การลงทะเบียน นำเสนอ จัดการ ติดต่อสื่อสาร ติดตามผล และประเมินผล รวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ เพื่อใช้สนับสนุนการเรียนการสอนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์ แบบพกพา ส่วนนี้จะทำงานสัมพันธ์กับ task model และ user model ที่ได้มีการออกแบบไว้ก่อนเกี่ยวกับรูปแบบการดำเนินการเกี่ยวกับภารกิจหรือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่จะนำเสนอให้กับผู้เรียน
3. หน่วยเก็บเนื้อหาบทเรียน (content repository) ได้แก่ ส่วนของเนื้อหาบทเรียน รวมทั้งแบบฝึกหัดแบบทดสอบ และส่วนข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดไปยังผู้เรียน4. ส่วนของการติดต่อกับผู้เรียน (interface) ได้แก่ ส่วนของการปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนผ่านแป้นพิมพ์และจอภาพของเครื่อง
U-learning
Ubiquitous ( ยูบิควิตัส ) เป็นภาษาลาติน มีความหมายว่า อยู่ในทุกแห่ง หรือมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง Mark Weiser (มาร์ค ไวเซอร์) แห่งศูนย์วิจัย Palo Alto ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้คำนิยาม Ubiquitous Computing (ยูบิควิตัสคอมพิวติง) ไว้ว่า หมายถึงกระบวนการบูรณาการคอมพิวเตอร์เข้ากับ Physical World อย่างไร้ของเขต การพัฒนาสิ่งเหล่านี้ทำให้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตประจำวัน
วิธีดำเนินการ (การนำไปใช้)
นำ มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน E-learning การเรียนเกิดขึ้นรอบตัวผู้เรียน เพราะข้อมูลสารสนเทศได้รวมไว้ในอุปกรณ์ต่างๆ ขอเพียงผู้เรียนพร้อมที่จะเรียน โดยเรียกความสัมพันธ์ของมนุษย์กับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ว่า เป็นแบบ Many to one relationship (Weiser, 1993) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบสามัญและเกี่ยวพันธ์กับ Ubiquitous Computing
ข้อดี U-learning
1. Adaptive learning เป็นการเรียนรู้ที่ปรับวิธีการให้ตรงกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน ทำให้เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว ประสิทธิภาพสูงและเข้าใจได้มากกว่า
2. Ubiquitous learning Environment (ULE) คือ การเรียนจะเกิดขึ้นรอบตัวเราโดยไม่รู้ตัว มาจากคำว่า Ubiquitous E-learning แต่ e- ได้ถูกตัดหายไป เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต
3. การเชื่อมต่อกับเครือข่าย ไม่ว่าจะเคลื่อนย้ายไปยังสถานที่ต่างๆ
4. การให้บริการที่สามารถเปลี่ยนไปตามสถานการณ์
5. การบูรณาการ U-learning นั้นทำให้เกิดประโยชน์ต่อประสบ การณ์การเรียนแบบกลางแจ้ง ได้แก่ ในสวน ศูนย์กลางของเมือง เป็นต้น และการเรียนในร่ม ได้แก่ ในพิพิธภัณฑ์ บ้าน เป็นต้น

ข้อจำกัด Ubiquitous Learning
1. ระบบเชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อให้ครอบคลุมถึงขนาด Ubiquitous ต้องใช้การลงทุนสูงมาก 2. จำนวนผู้ใช้บริการ และผู้ที่มีความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีดังกล่าว ยังน้อย ไม่คุ้มค่าการลงทุน
Podcasting หรือ Podcast
ขั้น ตอนของสื่อชนิดหนึ่งบนระบบอินเตอร์เน็ตที่ยินยอมให้ผู้ใช้ทั่วไปทำการสมัคร เพื่อรับ feed news คำว่า Podcasting หลายๆ คนคิดว่าอาจจะเป็นคำมาจากคำว่า Broadcasting กับ iPod แต่ตามข้อกำหนดแล้ว มันเป็นการเข้าใจผิด แต่เป็นความบังเอิญ อันสอดคล่องพอดี หรือประจวบเหมาะ กับ iPod ของ Apple นั้นเอง ซึ่ง Steve Jobs ก็ใช้โอกาสนี้ โฆษณา feature ใหม่เป็น Broadcasting + iPod = Podcasting นั้นเอง ซึ่งในความเป็นจริงแล้วนั้น ตั้งแต่ที่ได้ยินมานับตั้งแต่ Podcasting เกิดขึ้นมาบนโลกมา ระบบนี้สามารถใช้ได้กับ iPod หรือพวก portable music player อื่นๆ และรวมไปถึงเครื่อง computer ได้อยู่แล้ว ซึ่งในความเป็นจริง แล้วนั้น ตั้งแต่ กันยายน ปี 2004 นั้น ได้มีการบัญญัติคำว่า POD ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก “Personal On-Demand” หรือ "อุปสงค์ส่วนบุคคล" นั้นเอง เมื่อรวมกับ Broadcasting ก็กลายเป็น POD casting นั้นเอง ซึ่ง Broadcasting เป็นการนำสื่อต่างๆ มาอยู่ในรูปของภาพ และเสียง ต่างๆ มากมาย ไม่ขึ้นกับ formatของไฟล์ หรือ type ของไฟล์แต่อย่างใด นำมาเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ฟังโดยที่ไม่จำเป็นเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ และเป็นเทคโนโลยีในการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียง ผ่านสื่อต่างๆ หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นเทคโนโลยีที่สามารถโยกย้ายข้อมูลขนาดมหึมาของภาพและเสียงจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่งระหว่างเครือข่ายชนิดต่างๆ
สื่อ e-media
สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (floppy disk) และสื่อประเภทจานแสง (optical disk) บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึกและอ่านข้อมูลที่นี้ เราลองมาพิจารณาถึง ข้อดี-ข้อเสีย ของสื่อประเภทนี้ว่า เป็นอย่างไรบ้างเพื่อจะได้เป็นแนวทางในการนำมาใช้ประกอบในการเรียนการสอนและ การฝึกอบรมและจะได้นำมาเป็นแนวทางในการออกแบบและสร้างสื่อประเภทนี้ ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ข้อดี-ข้อจำกัด
ข้อดี
1. ขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของผู้เรียนในทุกหนทุกแห่ง จากห้องเรียนปกติไปยังบ้าน และที่ทำงาน ทำให้ไม่เสียเวลาในการเดินทาง
2. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนรอบโลกในสถานศึกษาต่าง ๆ ที่ร่วมมือกันได้มีโอกาสเรียนรู้พร้อมกัน
3. ผู้เรียนควบคุมการเรียนตามความต้องการ และความสามารถของตนอง
4. การสื่อสารโดยใช้ อีเมล์ กระดานข่าว การพูดคุยสด ฯลฯ ทำให้การเรียนรู้มีชีวิตชีวาขึ้นกว่าเดิม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนช่วยเหลือกันในการเรียน
5. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการสื่อสารในสังคม และก่อให้เกิดการเรียนแบบร่วมมือ ซึ่งที่จริงแล้ว การเรียนแบบร่วมมือสามารถขยายขอบเขตจากห้องเรียนหนึ่งไปยังห้องเรียนอื่น ๆ ได้โดยการเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ต
6. การเรียนด้วยสื่อหลายมิติทำให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาได้ตามสะดวกโดยไม่ต้องรียงลำดับกัน
7. ข้อมูลของหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาสามารถหาได้โดยง่าย
8. การเรียนการสอนมีให้เลือกทั้งแบบประสานเวลา คือเรียน และพบกับผู้สอนเพื่อปรึกษา หรือถามปัญหาได้ในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และแบบต่างเวลา (Asynchronous) คือเรียนจากเนื้อหาในเว็บ และติดต่อผู้สอนทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
9. ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็นแหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และตลอดเวลา การสอนบนเว็บตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้งมีทักษะ ในการตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. การสอนบนเว็บเป็นวิธีที่ดีเยี่ยมในการให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ของสถานการณ์ จำลอง ทั้งนี้เพราะสามารถใช้ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพ 3 มิติ ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับชีวิตจริงได้
ข้อจำกัด
1. การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นยังมีน้อย เมื่อเทียบกับการออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในวงการ อื่น ๆ ทำให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจำนวน และขอบเขตจำกัดที่จะนำมาใช้เรียนในวิชาต่างๆ
2. การที่จะให้ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเองนั้น นับว่าเป็นงานที่ต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทำให้เป็นการเพิ่มภาระของผู้สอนให้มีมากยิ่งขึ้น
3. เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นการวางโปรแกรมบทเรียนไว้ล่วงหน้า จึงมีลำดับขั้นตอนในการสอนทุกอย่างตามที่วางไว้ ดังนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงไม่สามารถช่วยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนได้
4. ผู้เรียนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ อาจจะไม่ชอบโปรแกรมที่เรียงตามขั้นตอน ทำให้เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ได้
Asynchronous Learning – สถานการณ์การเรียนรู้ใดๆที่ปฏิสัมพันธ์ถูกหน่วงเวลาออกไป ยังประโยชน์ให้ผู้เรียนสามารถร่วมกิจกรรมการเรียนได้ตามเวลาว่างของพวกเขา และไม่จำเป็นต้องอยู่ ณ สถานที่เดียวกับครูผู้สอน อาจอยู่ในรูปแบบของcorrespondence cou rse หรือ eLearning ปฏิสัมพันธ์การโต้ตอบกันอาจใช้เทคโนโลยีได้หลากหลายรูปแบบ เช่น กระดานสนทนา
Chat การสื่อสารด้วยตัวอักษรระหว่างสมาชิกของบริการ online ข้อความจะถูกส่งถึงกันระหว่างสมาชิกในแบบ real-time เสมือนเป็นการสนทนา โดยใช้การพิมพ์ด้วยถ้อยคำสั้นๆ
cLearning หรือ c-Learning — Classroom learning การเรียนในห้องเรียน เคยเป็นเพียง “learning” แต่ขณะนี้ เราจำเป็นต้องแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง cLearning กับ eLearning
Computer-Assisted Instruction (CAI)การสอนโดยมีคอมพิวเตอร์เป็นสื่อ มักถูกใช้เพื่ออ้างอิงถึงการฝึกหัดและฝึกฝน สอนพิเศษ หรือกิจกรรมการจำลองสถานการณ์ที่นำเสนอโดยตัวมันเอง หรือนำเสนอเป็นส่วนเสริมให้กับการสอนแบบปกติที่สอนโดยครู
Computer-Based Training (CBT)การฝึกอบรมหรือการสอนโดยมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นผู้สร้างแรงจูงใจและ feedback แทนที่จะเป็นครูผู้สอนจริงๆ CBT อาจอยู่ในรูปของ CD-ROM, LAN หรืออินเทอร์เน็ต การสร้าง กระทำโดยกลุ่มบุคคลรวมถึงนักออกแบบการสอน (instructional designers) และมักจะมีค่าใช้จ่ายในการพัฒนาสูง
Correspondence Course - หลักสูตรทางไกลเรียนโดยใช้จดหมายสำหรับการโต้ตอบและเพื่อส่งงานที่ได้รับมอบ หมาย ชั้นเรียนทางไปรษณีย์แบบนี้ได้รับความนิยมมากในช่วงระหว่างปี 1890’s

Discussion Boards - สถานที่ประชุมบนอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต ที่ซึ่งผู้ใช้สามารถทิ้งข้อความไว้ให้ผู้ใช้คนอื่นๆได้อ่าน
Distance Educationกระบวนการอย่างเป็นทางการของ distance learning คำนี้มีนัยตามประเพณีหมายถึงระดับการศึกษาชั้นสูง คืออุดมศึกษา
Distance Learning การเรียนซึ่งผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้อยู่ณ สถานที่เดียวกัน อาจเป็น synchronous หรือ asynchronous อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ อาจประกอบด้วย correspondence วิดีโอ หรือการถ่ายทอดผ่านดาวเทียม หรือ eLearning มักใช้กับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
eLearning หรือ e-Learningการเรียนใดๆที่ใช้ประโยชน์จากเครือข่าย (LAN, WAN หรืออินเทอร์เน็ต) เพื่อการนำส่ง (delivery) การมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) หรือเพื่อความสะดวก นี่หมายรวมถึง distributed learning, distance learning (ที่ไม่ใช่ correspondence) CBT ที่ส่งผ่านเครือข่าย และ WBT อาจอยู่ในรูปของ synchronous, asynchronous, instructor-led หรือ computer-based หรือการผสมผสานกัน
Informal/Formal Learning – Formal learning คือชั้นเรียน การสัมมนา หลักสูตรการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทุกคนรู้จักมันในฐานะของ การศึกษาเล่าเรียน” Informal learning คือนั่งอยู่บนเครื่องทำน้ำเย็น ที่เกมหมากรุก การขอความช่วยเหลือจากคนในห้องข้างๆ การร่วมด้วยช่วยกันแก้ปัญหา การจ้องมองดูผู้เชี่ยวชาญ หรือการแบ่งปันคอมพิวเตอร์ในการเรียน eLearning
Internet-Based Trainingการส่งเนื้อหาทางการศึกษาผ่านเว็บบราวเซอร์ บนอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือเอ็กซทราเน็ต Internet-based training จัดเตรียมการเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลการเรียนที่อยู่ภายนอกหลักสูตร เช่น เอกสารอ้างอิง, email, discussion boards และ discussion groups มันสร้างข้อได้เปรียบของ computer-based training ในขณะที่ยังคงไว้ซึ่งข้อได้เปรียบของ instructor-led training คำ Internet-based training นี้ มีความหมายเหมือนกันกับ Web-based training และ online training
Knowledge Managementการจับ การรวบรวม และการจัดเก็บความรู้และประสบการณ์ของพนักงานแต่ละคนและกลุ่มพนักงานภายใน องค์กร แล้วทำให้มันพร้อมสำหรับคนอื่นๆในองค์กร ที่จะนำไปใช้ได้ สารสนเทศดังกล่าวจะถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลพิเศษเรียกว่า knowledge base
Synchronous Learningการเรียนรู้ใดๆที่ปฏิสัมพันธ์เกิดขึ้นใน real-time ในเวลาเดียวกัน นี่ทำให้ผู้เรียนต้องเข้าเรียนตามตารางเวลาที่กำหนด อาจดำเนินในห้องเรียนแบบเก่า หรือส่งผ่านทางเทคโนโลยี distributed หรือ eLearning
Web-Based Training (WBT) - การฝึกอบรมซึ่งถูกส่งผ่านไปบนเครือข่าย (LAN, WAN หรืออินเทอร์เน็ต) อาจเป็น Instructor-led หรือ Computer-Based อย่างใดอย่างหนึ่ง คล้ายคลึงมากกับ eLearning แต่มีนัยไปข้างว่า เป็นการเรียนรู้ในระดับผู้ประกอบอาชีพแล้ว หรือทำงานบริษัท
Webucationการศึกษาผ่าน World Wide Web บางครั้งเรียกว่า e-education คำใหม่ๆส่วนมากที่ขึ้นต้นด้วย Web- มักมีอายุสั้น แต่คำนี้ดูเป็นข้อยกเว้น หมายถึงหลากหลายวิธีในการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสนับสนุนการเรียนทางไกล โดยเฉพาะการนำการศึกษามาสู่กลุ่มคนที่ขาดโอกาส อย่างไรก็ดี มันยังรวมถึงระบบการบริหารโรงเรียน ซอฟแวร์ทางการศึกษา และวิธีต่อสายให้กับห้องเรียน









2.      ตัวอย่าง รูปแบบการใช้เครือข่ายสังคม  ในการจัดการเรียนรู้ที่นิยมแพร่หลาย
Faccebook.com
Hi5.com

บทสรุป
               คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือเอนกประสงค์ที่นำไปประยุกต์ใช้ได้เกือบทุกเรื่อง และที่สำคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่งก็คือเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุน ให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว เป็นเรื่องมือที่ให้เด็กนักเรียนได้ฝึกทักษะ กระตุ้นให้เกิดการคิดเพื่อแก้ปัญหา ผู้เรียนเลือกที่จะเรียนรู้ได้ตามความถนัด ความชอบ เพราะคนที่จะเรียนรู้ได้ดีในเรื่องที่ตนเองสนใจชอบที่จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือส่งเสริมในลักษณะนี้ได้ด้วยตนเอง จึงสอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการศึกษาที่เน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกคนจะต้องเรียนรู้ความเป็นไปในปัจจุบัน รู้จักแยกแยะ และเลือกที่จะเรียนรู้สิ่งที่เป็นประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
                การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองสำหรับผู้ที่มีพื้นความรู้ทางคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก เช่นกรณีของเด็กเล็กและผู้สูงอายุ ครูหรือผู้รู้ยังต้องแนะนำบ้างก่อนที่จะปล่อยให้เรียนรู้ด้วยตนเอง สิ่งที่ผู้ใช้ทุกคนควรมีพื้นความรู้นั้นก็คือการปิดเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้เมาซ์ควบคุมการใช้งาน การใช้คีย์บอร์ดเมื่อต้องพิมพ์ข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลบางอย่าง เช่นผู้ใช้ควรจะได้ทราบว่า เมื่อตัวชี้ที่เลื่อนด้วยเม้าซ์นั้นเมื่อชี้ไปที่จุดใดแล้วคลิกขวาแล้ว จะมีตัวบอกว่าที่จุดนั้นทำอะไรได้บ้าง และเลือกรายการทำงานได้ ถ้าคลิกปุ่มซ้ายอาจจะครั้งเดียวหรือสองครั้งเร็วๆ นั้นหมายถึงการสั่งให้ทำงานหรือรันโปรแกรม เป็นต้น
บริการเครือข่ายสังคม (อังกฤษ: social network service) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ ในการสร้างเครือข่ายสังคม สำหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ได้ทำ และเชื่อมโยงกับความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริการเครือข่ายสังคมมักจะประกอบไปด้วย การแช็ต ส่งข้อความ ส่งอีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก การทำงานคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลพวกนี้ไว้ในรูปฐานข้อมูล sql ส่วน video หรือ รูปภาพ อาจเก็บเป็น ไฟล์ก็ได้ บริการเครือข่ายสังคมที่เป็นที่นิยมได้แก่ ไฮไฟฟ์ มายสเปซ เฟซบุ๊ก ออร์กัต มัลติพลาย โดยเว็บเหล่านี้มีผู้ใช้มากมาย เช่น ไฮไฟฟ์เป็นเว็บไซต์ที่คนไทยใช้มากที่สุด  ส่วนบริการเครือข่ายสังคม ที่ทำขึ้นมาสำหรับคนไทยโดยเฉพาะ คือ บางกอกสเปซ ในขณะที่ออร์กัตเป็นที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย